บทความและรูปภาพสับปะรดหนาม Dyckia สำหรับทุกๆท่านที่รักสับปะรดหนามโดยเฉพาะ โดย " Q " bromhouse@hotmail.com
วันศุกร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2557
" ในที่สุด "
" แยกยอดซะแล้ว "
โดย Dyckia From " Q "
วันนี้มาชมรูปแบบการขยายพันธุ์ของ Dyckia กันครับ เป็นการขยายพันธุ์ที่นอกเหนือจากการให้หน่อครับ
นอกเหนือจากการให้หน่อ ดิกเกียจะขยายพันธุ์โดยการ แยกยอด และ การผสมเกสรเพื่อให้ได้เมล็ดมาเพาะ
รูปที่ 1 Dyckia Bangkok Star กำลังออกดอกครับ ตัวนี้ติดเมล็ดยากครับ ขอเเค่ได้เก็บเกสรก็คุ้มแล้ว ^__^
รูปที่ 2 Dyckia pectinata X goehringii ตัวใบใสครับ สวยงามมาก
คู่ผสมนี้มีใบใสแค่ 2 ต้นครับ
รูปที่ 3 Dyckia pectinata X goehringii ตัวใบใสอีกต้น กำลังเข้าฟอร์ม และได้หนามเหลืองของแม่มาด้วย
รูปที่ 4 Dyckia goehringii type clone X Arizona F2 สวยขึ้นมากครับ
ต้นนี้หน้าตา น่าจะใกล้เคียงกับของคุณSak ^__^
รูปที่ 5 Dyckia goehringii type clone X Arizona F2 อีกต้นครับ ได้หนาม Arizona มาชัดเจนมากๆ
รูปที่ 6 Dyckia Brittle Star X Arizona TC
มีมาให้ชมหลายโทนแสงครับ
ถ่ายไว้หลายรูป เลือกไม่ถูก
ดูทั้งหมดเลยละกันนะครับ
รูปที่ 7 Dyckia hebdingii rubra แดงขึ้นเรื่อยๆ และเริ่มแยกเป็น 2 ยอดแล้วครับ
ประมาณนี้ครับ การให้หน่อเป็นการขยายพันธุ์ที่รวดเร็วที่สุด แต่การเพาะเมล็ดเป็นการขยายพันธุ์ที่ได้จำนวน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ถามหน่อยครับ arizona F1 ไม่ให้หน่อแล้วทำไม F2/F3 จึงให้หน่อครับ
ตอบลบตอบตามที่ประสพการณ์เคยเจอมากับตัวเองนะครับ
ลบArizona F2, F3 พวกนี้เป็นไม้เมล็ดที่เพาะออกมาครับ
ส่วนตัวแล้วมั่นใจว่า ไม้เมล็ดแทบทุกตัวมีโอกาสให้หน่อได้ครับ
แม้แต่ Arizona F1 เองบางต้น ยังสามารถให้หน่อได้เลยครับ
เพราะปัจจุบัน Arizona F1 ที่พบเห็นกัน จะมี 2 ตัว
คือตัวที่ไม่ให้หน่อ ( หน้าตาขึ้เหร่มาก แต่ให้ลูกสวยสุดๆ )
และอีกตัวคือตัวที่ให้หน่อได้ หน้าตาจะสวยหน่อย
ตรงนี้... อย่าถามที่มาที่ไปนะครับ ผมก็ไม่ทราบครับ มาก็เป็นแบบนี้แล้วครับ ^__^
Dyckia goehringii type clone X Arizona F2 ของผมสวยกว่าครับ เอาแบบ พี่ S1 555
ตอบลบ